บทที่ 2


บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 จากการศึกษาในครั้งนี้ผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาเป็นกรอบและ
แนวทางในการศึกษาค้นคว้าในหัวข้อดังต่อไปนี้
 2.1 พลังงานไฟฟ้า (Electrical energy)
 2.2 ตัวต้านทาน (Resistor)
 2.3 ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
 2.4 LED (light-emitting diode)
 2.5 ทรานซิสเตอร์(Transistor)
 2.6 ไดโอด (Diode)
 2.7 ตัวต้านทานปรับค่าได้(Variable Resistor)
 2.8 แหล่งจ่ายไฟ (Adapter)
2.1 พลังงานไฟฟ้า (Electrical energy)
 พลังงาน คือ ความสามารถในการทำงาน มีอยู่หลายรูปแบบ สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
ได้แก่ พลังงานที่ทำงานได้ และพลังงานที่เก็บสะสมไว้ พลังงานที่ทำงานได้ ที่สำคัญได้แก่ พลังงานไฟฟ้า
พลังงานแสง และพลังงานเสียง ส่วน พลังงานที่เก็บสะสมไว้ ประกอบด้วย พลังงานเคมี หมายถึง
พลังงานที่เก็บสะสมไว้ในสสารต่างๆ พลังงานนิวเคลียร์ หมายถึง พลังงานที่เก็บสะสมไว้ในธาตุ และ
พลังงานศักย์หมายถึง พลังงานที่มีอยู่ใน วัตถุ ซึ่งขึ้นอยู่กับตำแหน่งของวัตถุนั้นๆ แบ่งออกเป็น พลังงาน
ศักย์โน้มถ่วง และพลังงานศักย์ยืดหยุ่น
2.2 ตัวต้านทาน (Resistor)
          ตัวต้านทาน หรือ Resistor มีหน้าที่คือ ช่วยควบคุมค่าความต้านทานในวงจรไฟฟ้า ตัวต้านทาน
จะต้านทานการไหลไฟฟ้าทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ โดยทั่วไป ตัวต้านทานจะมีอยู่หลายแบบ
แตกต่างกันตามขนาดรูปร่าง ตามแต่อัตราทนกำลังไฟฟ้า และตามค่าของมัน ซึ่งค่าของความ ต้านทาน
จะมีหน่วยเป็นโอห์ม (ohm) ค่าความต้านทานนี้ในตัวต้านทานบางแบบจะพิมพ์ลงบนตัวมันเลย และก็มี
2.3 ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
          ตัวเก็บประจุ หรือ คาปาซิเตอร์ (อังกฤษ: capacitor หรือ อังกฤษ: condenser) เป็นอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง ท าหน้าที่เก็บพลังงานในสนามไฟฟ้า ที่สร้างขึ้นระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่าประจุ
ไฟฟ้าเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุตรงข้ามกัน บางครั้งเรียกตัวเก็บประจุนี้ว่า คอนเดนเซอร์ (condenser)
เป็นอุปกรณ์พื้นฐานสำคัญในงานอิเล็กทรอนิกส์และพบได้แทบทุกวงจร
2.4 LED (light-emitting diode)
 ไดโอดเปล่งแสง (อังกฤษ: light-emitting diode หรือย่อว่า LED) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่าง
หนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกไดโอด ที่สามารถเปล่งแสงในช่วงสเปกตรัมแคบ เมื่อถูกไบอัสทางไฟฟ้าในทิศทาง
ไปข้างหน้า ปรากฏการณ์นี้อยู่ในรูปของ electroluminescence สีของแสงที่เปล่งออกมานั้นขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบทางเคมีของวัสดุกึ่งตัวนำที่ใช้ และเปล่งแสงได้ใกล้ช่วงอัลตราไวโอเลต ช่วงแสงที่มองเห็น
และช่วงอินฟราเรด ผู้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงขึ้นเป็นคนแรก คือ นิกโฮโลยัก (Nick Holonyak Jr.) (เกิด
ค.ศ. 1928) แห่งบริษัทเจเนรัล อิเล็กทริก (General Electric Company) โดยได้พัฒนาไดโอดเปล่งแสง
ในช่วงแสงที่มองเห็น และสามารถใช้งานได้ในเชิงปฏิบัติเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1962
2.5 ทรานซิสเตอร์(Transistor)
          ทรานซิสเตอร์(Transistor) เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาจากไดโอด ซึ่งคุณสมบัติของทรานซิสเตอร์นั้นหมายถึงสามารถนำไปใช้งานในด้านขยายสัญญาณ ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นนั่นเองโดยการป้อนสัญญาณที่มีขนาดเล็กให้ทรานซิสเตอร์ ทรานซิสเตอร์ก็จะนำกระแสได้มากที่สามารถทำให้เกิดสัญญาณขนาดใหญ่ทางขาออกได้สบายๆ เเละทรานซิสเตอร์ยังเป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่สามารถทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า คงค่าแรงดันไฟฟ้า หรือกล้าสัญญาณไฟฟ้า (modulate) เป็นต้นการทำงานของทรานซิสเตอร์เปรียบได้กับวาลว์ที่ถูกควบคุมด้วยสัญญาณไฟฟ้าขาเข้า เพื่อปรับขนาดระแสไฟฟ้าขาออกที่มาจากแหล่งจ่ายแรงดัน
2.6 ไดโอด (Diode)
 ไดโอด เป็นอุปกรณ์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ p-n สามารถควบคุมให้กระแสไฟฟ้าจากภายนอกไหล
ผ่านตัวมันได้ทิศทางเดียว ไดโอดประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ แอโนด (Anode ; A) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่ง
ตัวนำชนิด p และ แคโธด (Cathode ; K) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด
 2.7 ตัวต้านทานปรับค่าได้ (Variable Resistor)
ตัวความต้านทานชนิดเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistors) คือ ความต้านทานชนิดที่สามารถ เปลี่ยนค่าได้ โดยการใช้แกนหมุน (แบบวงแหวน) หรือเลื่อนแกน (แบบสไลด์) จะใช้ในงานที่ต้องการ ปรับค่าความต้านทานบ่อยๆ ตัวต้านทานชนิดนี้จะมีหน้าคอนแท็คสำหรับใช้ในการหมุนเลื่อนหน้าคอน แท็คแสดงวัสดุที่ใช้ทำตัวความต้านทานชนิดนี้ อาจจะเป็นวัสดุประเภทเดียวกับที่ช้าตัวความต้านทาน แบบคงที่ คือ ชนิดคาร์บอน (Carbon) หรือชนิดเส้นลวด (Wire-Wound) ซึ่งแล้วแต่ว่าจะต้องการ ควบคุมปริมาณของกระแสจำนวนมากน้อยเท่าไร ถ้าใช้กับวงจรที่กระแสสูง วัสดุที่ใช้จะเป็นแบบเส้น ลวด ถ้าใช้กับวงจรกระแสต่ำจะใช้กับวัสดุประเภทคาร์บอน จะมี แกนสำหรับหมุน (แบบวงแหวน)
2.8 แหล่งจ่ายไฟ (Adapter)
แหล่งจ่ายไฟ DC ที่ไม่ควบคุมปกติจะใช้หม้อแปลงไฟฟ้าเพื่อแปลงแรงดันจากผนัง (ไฟบ้าน) ให้ต่ำลงให้ได้แรงดันที่ต้องการ ถ้าต้องการผลิต แรงดัน DC, วงจรเรียงกระแส จะใช้ในการ แปลงแรงดันไฟฟ้าสลับให้เป็นแรงดันไฟฟ้าตรง(ยังเป็นรูปคลื่นอยู่) ตามด้วยตัวกรองประกอบด้วยตัวแปลจุตัวต้านทาน อย่างน้อยหนึ่งตัว และบางครั้งมี ตัวเหนี่ยวนำด้วยเพื่อ ท าการกรอง (ทำให้เรียบ)คลื่นเหล่านั้น คลื่นขนาดเล็กที่เหลือจากการกรองหรือที่เรียกว่า ripple นี้เป็นสิ่งไม่พึงประสงค์ ซึ่งอาจมีความถี่น้อยหรือมากกว่าความถี่จาก AC input (ขึ้นอยู่กับวิธีเรียงกระแสว่าเป็นแบบครึ่งคลื่น หรือ เต็มคลื่น) ripple นี้จะขี่ไปบนแรงดันไฟฟ้าตรง อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น